วันศุกร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2557

ผลกระทบของวิกฤติการณ์พลังงาน

ผลกระทบของวิกฤติการณ์พลังงาน
                     
              ส่วนต่างๆ  ของโลกมีความพยายามแก้ไขปัญหาพลังงานเป็นสองแนวทาง   คือ   การแสวงหา   
พลังงานใหม่มาทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทน้ำมัน  ก๊าซ และถ่านหิน  พลังงานที่ประเทศต่างๆ    หันมาให้ความสนใจ  คือ  พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานจากชีวมวล   ส่วนอีกแนวทางหนึ่ง   คือ  การประหยัดพลังงาน  ซึ่งหมายถึง  การใช้พลังงานเท่าที่จำเป็นและการเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมซึ่งจะเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยลดการใช้พลังงานลงโดยไม่ลดผลผลิต   ผลกระทบพลังงาน  ซึ่งจะยกตัวอย่างผลกระทบจากพลังงานบางชนิด  ดังนี้

 ผลกระทบจากการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากถ่านหิน กรณีแม่เมาะ
                    แหล่งถ่านหินแม่เมาะ  จังหวัดลำปาง  เป็นแหล่งถ่านหินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย  มีปริมาณสำรองประมาณ  1,490  ล้านตัน  จากปริมาณสำรองถ่านหินทั้งประเทศประมาณ  1,736  ล้านตัน  มีการค้นพบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498  ยังผลให้เกิดการพัฒนาแหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติของประเทศไทยครั้งใหญ่สุด  โดยการลงทุนทำเหมืองขนาดใหญ่เพื่อนำถ่านหินลิกไนต์มาใช้ประโยชน์ ซึ่งปัจจุบันใช้สำหรับโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าที่แม่เมาะเป็นหลัก
                  เมื่อมีการเผาไหม้ลิกไนต์เพื่อให้ได้พลังงานความร้อน  ซึ่งจะถูกนำไปผลิตไอน้ำไปขับ        เครื่องกำเนิดไฟฟ้า  ผลของการเผาไหม้จะเกิดออกไซด์ของไนโตรเจนออกไซด์  ออกไซด์ของกำมะถัน  ออกไซด์ของคาร์บอน  สารไฮโดรคาร์บอน  และฝุ่นเถ้าซึ่งปริมาณของสารมลพิษดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับปริมาณถ่านหินที่ใช้  ที่ปล่อยออกมาทางปล่องสูง  ถ้าหากไม่มีระบบควบคุมจะมีการระบายสารมลพิษประเภทฝุ่นประมาณ  8  กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์  ซัลเฟอร์ออกไซด์  1 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์   ไนโตรเจนออกไซด์  9 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์   ไฮโดรคาร์บอน 0.15 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์ และ คาร์บอนมอนนอกไซด์  0.5  กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์
                            ผลกระทบจากสารมลพิษจะเกิด ทั้งจากความร้ายแรงในตัวของสารแต่ละชนิด และเกิดในลักษณะที่เป็นมลพิษเสริม ที่จะเป็นผลร้ายมากกว่าปกติ เช่นเมื่อฝุ่นพิษปรากฏพร้อมกับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ความรุนแรงจะเพิ่มขึ้นอย่างมาก  และระดับที่เริ่มมีผลกระทบ  คือ  หนึ่งส่วนในล้านส่วนโดยปริมาตร   ดังนั้นปริมาณที่สารพิษระบายออกดังที่กล่าวมาก็อยู่ในขั้นส่งผลดังเช่นกรณีที่เกิดขึ้นที่แม่เมาะ

                ถ่านหิน
                       ในบรรดาเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ทั้งหมดถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงที่ก่อมลพิษระหว่างการเผาไหม้มากที่สุด และยังเป็นเชื้อเพลิงที่มีอันตราย  ระหว่างการขุดเจาะนำขึ้นมาบนผิวโลกมากที่สุดอีกด้วย

                       ถ่านหินเป็นหินตะกอนชนิดหนึ่ง  ติดไฟได้จึงใช้เป็นเชื้อเพลิงปั่นไฟได้  นอกจากนี้ถ่านหินยังใช้เป็นแหล่งพลังงานในโรงงานขนาดใหญ่ๆ  เช่น  โรงงานปูนซีเมนต์  โรงงานกระดาษ  โรงงานผงชูรส  เป็นต้น  เพราะหาได้ง่ายและราคาไม่แพง แต่การเอาถ่านหินมาเผาจะได้ก๊าซพิษออกมาด้วย จึงต้องเลือกถ่านหินคุณภาพดี  (มีกำมะถันต่ำ) หรือไม่ก็ต้องมีวิธีลดสารพิษออกจากถ่านหินก่อนส่งไปเผา  หรือไม่เช่นนั้นต้องมีอุปกรณ์หรือเครื่องจับก๊าซพิษไว้ผลกระทบของวิกฤติการณ์พลังงาน
                       ส่วนต่างๆ  ของโลกมีความพยายามแก้ไขปัญหาพลังงานเป็นสองแนวทาง   คือ   การแสวงห พลังงานใหม่มาทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทน้ำมัน  ก๊าซ และถ่านหิน  พลังงานที่ประเทศต่างๆ หันมาให้ความสนใจ  คือ  พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานจากชีวมวล   ส่วนอีกแนวทางหนึ่ง   คือ  การประหยัดพลังงาน  ซึ่งหมายถึง  การใช้พลังงานเท่าที่จำเป็นและการเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมซึ่งจะเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยลดการใช้พลังงานลงโดยไม่ลดผลผลิต
                       ผลกระทบพลังงาน  ซึ่งจะยกตัวอย่างผลกระทบจากพลังงานบางชนิด  ดังนี้

                4.9.1  ผลกระทบจากการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากถ่านหิน กรณีแม่เมาะ
                                       แหล่งถ่านหินแม่เมาะ  จังหวัดลำปาง  เป็นแหล่งถ่านหินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย  มีปริมาณสำรองประมาณ  1,490  ล้านตัน  จากปริมาณสำรองถ่านหินทั้งประเทศประมาณ  1,736  ล้านตัน  มีการค้นพบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498  ยังผลให้เกิดการพัฒนาแหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติของประเทศไทยครั้งใหญ่สุด  โดยการลงทุนทำเหมืองขนาดใหญ่เพื่อนำถ่านหินลิกไนต์มาใช้ประโยชน์ ซึ่งปัจจุบันใช้สำหรับโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าที่แม่เมาะเป็นหลัก
                            เมื่อมีการเผาไหม้ลิกไนต์เพื่อให้ได้พลังงานความร้อน  ซึ่งจะถูกนำไปผลิตไอน้ำไปขับ        เครื่องกำเนิดไฟฟ้า  ผลของการเผาไหม้จะเกิดออกไซด์ของไนโตรเจนออกไซด์  ออกไซด์ของกำมะถัน  ออกไซด์ของคาร์บอน  สารไฮโดรคาร์บอน  และฝุ่นเถ้าซึ่งปริมาณของสารมลพิษดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับปริมาณถ่านหินที่ใช้  ที่ปล่อยออกมาทางปล่องสูง  ถ้าหากไม่มีระบบควบคุมจะมีการระบายสารมลพิษประเภทฝุ่นประมาณ  8  กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์  ซัลเฟอร์ออกไซด์  1 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์   ไนโตรเจนออกไซด์  9 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์   ไฮโดรคาร์บอน 0.15 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์ และ คาร์บอนมอนนอกไซด์  0.5  กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์
                            ผลกระทบจากสารมลพิษจะเกิด ทั้งจากความร้ายแรงในตัวของสารแต่ละชนิด และเกิดในลักษณะที่เป็นมลพิษเสริม ที่จะเป็นผลร้ายมากกว่าปกติ เช่นเมื่อฝุ่นพิษปรากฏพร้อมกับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ความรุนแรงจะเพิ่มขึ้นอย่างมาก  และระดับที่เริ่มมีผลกระทบ  คือ  หนึ่งส่วนในล้านส่วนโดยปริมาตร   ดังนั้นปริมาณที่สารพิษระบายออกดังที่กล่าวมาก็อยู่ในขั้นส่งผลดังเช่นกรณีที่เกิดขึ้นที่แม่เมาะ

                ถ่านหิน
                       ในบรรดาเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ทั้งหมดถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงที่ก่อมลพิษระหว่างการเผาไหม้มากที่สุด และยังเป็นเชื้อเพลิงที่มีอันตราย  ระหว่างการขุดเจาะนำขึ้นมาบนผิวโลกมากที่สุดอีกด้วย
                       ถ่านหินเป็นหินตะกอนชนิดหนึ่ง  ติดไฟได้จึงใช้เป็นเชื้อเพลิงปั่นไฟได้  นอกจากนี้ถ่านหินยังใช้เป็นแหล่งพลังงานในโรงงานขนาดใหญ่ๆ  เช่น  โรงงานปูนซีเมนต์  โรงงานกระดาษ  โรงงานผงชูรส  เป็นต้น  เพราะหาได้ง่ายและราคาไม่แพง แต่การเอาถ่านหินมาเผาจะได้ก๊าซพิษออกมาด้วย จึงต้องเลือกถ่านหินคุณภาพดี  (มีกำมะถันต่ำ) หรือไม่ก็ต้องมีวิธีลดสารพิษออกจากถ่านหินก่อนส่งไปเผา  หรือไม่เช่นนั้นต้องมีอุปกรณ์หรือเครื่องจับก๊าซพิษไว้ผลกระทบของวิกฤติการณ์พลังงาน
                       ส่วนต่างๆ  ของโลกมีความพยายามแก้ไขปัญหาพลังงานเป็นสองแนวทาง   คือ   การแสวงหา พลังงานใหม่มาทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิลประเภทน้ำมัน  ก๊าซ และถ่านหิน  พลังงานที่ประเทศต่างๆ หันมาให้ความสนใจ  คือ  พลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานจากชีวมวล   ส่วนอีกแนวทางหนึ่ง   คือ  การประหยัดพลังงาน  ซึ่งหมายถึง  การใช้พลังงานเท่าที่จำเป็นและการเพิ่มประสิทธิภาพของอุปกรณ์และกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมซึ่งจะเป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยลดการใช้พลังงานลงโดยไม่ลดผลผลิต
                       ผลกระทบพลังงาน  ซึ่งจะยกตัวอย่างผลกระทบจากพลังงานบางชนิด  ดังนี้

                4.9.1  ผลกระทบจากการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากถ่านหิน กรณีแม่เมาะ
                                       แหล่งถ่านหินแม่เมาะ  จังหวัดลำปาง  เป็นแหล่งถ่านหินที่ใหญ่ที่สุดของประเทศไทย  มีปริมาณสำรองประมาณ  1,490  ล้านตัน  จากปริมาณสำรองถ่านหินทั้งประเทศประมาณ  1,736  ล้านตัน  มีการค้นพบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2498  ยังผลให้เกิดการพัฒนาแหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติของประเทศไทยครั้งใหญ่สุด  โดยการลงทุนทำเหมืองขนาดใหญ่เพื่อนำถ่านหินลิกไนต์มาใช้ประโยชน์ ซึ่งปัจจุบันใช้สำหรับโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้าที่แม่เมาะเป็นหลัก
                            เมื่อมีการเผาไหม้ลิกไนต์เพื่อให้ได้พลังงานความร้อน  ซึ่งจะถูกนำไปผลิตไอน้ำไปขับ  เครื่องกำเนิดไฟฟ้า  ผลของการเผาไหม้จะเกิดออกไซด์ของไนโตรเจนออกไซด์  ออกไซด์ของกำมะถัน  ออกไซด์ของคาร์บอน  สารไฮโดรคาร์บอน  และฝุ่นเถ้าซึ่งปริมาณของสารมลพิษดังกล่าวจะขึ้นอยู่กับปริมาณถ่านหินที่ใช้  ที่ปล่อยออกมาทางปล่องสูง  ถ้าหากไม่มีระบบควบคุมจะมีการระบายสารมลพิษประเภทฝุ่นประมาณ  8  กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์  ซัลเฟอร์ออกไซด์  1 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์   ไนโตรเจนออกไซด์  9 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์   ไฮโดรคาร์บอน 0.15 กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์ และ คาร์บอนมอนนอกไซด์  0.5  กิโลกรัม/ตันของลิกไนต์
                            ผลกระทบจากสารมลพิษจะเกิด ทั้งจากความร้ายแรงในตัวของสารแต่ละชนิด และเกิดในลักษณะที่เป็นมลพิษเสริม ที่จะเป็นผลร้ายมากกว่าปกติ เช่นเมื่อฝุ่นพิษปรากฏพร้อมกับก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ความรุนแรงจะเพิ่มขึ้นอย่างมาก  และระดับที่เริ่มมีผลกระทบ  คือ  หนึ่งส่วนในล้านส่วนโดยปริมาตร   ดังนั้นปริมาณที่สารพิษระบายออกดังที่กล่าวมาก็อยู่ในขั้นส่งผลดังเช่นกรณีที่เกิดขึ้นที่แม่เมาะ

                ถ่านหิน
                       ในบรรดาเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ทั้งหมดถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงที่ก่อมลพิษระหว่างการเผาไหม้มากที่สุด และยังเป็นเชื้อเพลิงที่มีอันตราย  ระหว่างการขุดเจาะนำขึ้นมาบนผิวโลกมากที่สุดอีกด้วย
                       ถ่านหินเป็นหินตะกอนชนิดหนึ่ง  ติดไฟได้จึงใช้เป็นเชื้อเพลิงปั่นไฟได้  นอกจากนี้ถ่านหินยังใช้เป็นแหล่งพลังงานในโรงงานขนาดใหญ่ๆ  เช่น  โรงงานปูนซีเมนต์  โรงงานกระดาษ  โรงงานผงชูรส  เป็นต้น  เพราะหาได้ง่ายและราคาไม่แพง แต่การเอาถ่านหินมาเผาจะได้ก๊าซพิษออกมาด้วย จึงต้องเลือกถ่านหินคุณภาพดี  (มีกำมะถันต่ำ) หรือไม่ก็ต้องมีวิธีลดสารพิษออกจากถ่านหินก่อนส่งไปเผา  หรือไม่เช่นนั้นต้องมีอุปกรณ์หรือเครื่องจับก๊าซพิษไว้
ถ่านหินบ้านเราเป็นประเภทลิกไนต์ซึ่งเป็นถ่านหินชนิดที่มีคุณภาพต่ำ  การเผาลิกไนต์จะได้ความร้อนไม่มาก  จึงผลิตไฟฟ้าได้ต่ำ  อีกทั้งยังมีกำมะถันมากกว่าถ่านหินชนิดอื่น  ทำให้มีก๊าซพิษออกมามากกว่า  ซึ่งถ้าเป็นถ่านหินอย่างอื่น  เช่น  ถ่านหินแอนทราไซด์  จะได้ความร้อนสูง  ผลิตไฟฟ้าได้มากและมีก๊าซพิษต่ำ
                       ประเทศไทยไม่ค่อยมีถ่านหิน  เท่าที่มีอยู่เป็นถ่านหินคุณภาพต่ำ  เราจึงต้องสั่งถ่านหินคุณภาพสูงมาจากต่างประเทศ

                      4.9.2  ผลกระทบจากการทำเหมืองถ่านหิน  ผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมผิวดิน
                                   เหมืองถ่านหินที่เป็นเหมืองผิวดินมักเป็นเหมืองที่มีขนาดใหญ่  ต้องใช้พื้นที่ในการเปิดบ่อเหมืองและกองทิ้งดินผิวหน้าเป็นบริเวณกว้างขวางมาก  สภาพแวดล้อมต่างๆ  ในพื้นที่ทำเหมืองมี  การเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง  เช่น  มีการตัดไม้ทำลายป่า  เส้นทางน้ำบางสายเปลี่ยนทิศทางสภาพบ่อเหมืองภายหลังการดำเนินการจะเป็นหลุมขนาดใหญ่และลึกมาก  บริเวณที่กองทิ้งดินผิวหน้าจะมี   สภาพเป็นเนินเขาขนาดใหญ่ที่ปราศจากต้นไม้ปกคลุม การที่จะฟื้นฟูที่ดังกล่าวให้คืนสู่สภาพเดิมต้องใช้งบประมาณจำนวนมาก  และระยะเวลาที่ยาวนาน

                       4.9.3  ผลกระทบด้านมลภาวะทางอากาศ
                                  หากไม่มีมาตรการหรืออุปกรณ์ป้องกันมลพิษที่ได้มาตรฐาน  ฝุ่นละอองและผงถ่านหินที่เกิดจากการทำเหมืองรวมทั้งก๊าซเสียจากแหล่งแร่  เช่น  ซัลเฟอร์ไดออกไซด์จะกระจายในอากาศ  และถูกกระแสลมพัดพาไปได้เป็นระยะทางไกลๆ จะทำให้เกิดมลภาวะทางอากาศและสภาพฝนกรดในบริเวณพื้นที่ทำเหมืองและพื้นที่ใกล้เคียง

                       4.9.4  ผลกระทบของการทำเหมืองยูเรเนียม
                                   เนื่องจากในการทำเหมืองยูเรเนียมแบบเหมืองเปิดมีการเปิดหน้าดินออกเพื่อเอายูเรเนียมขึ้นมาใช้  การเปิดหน้าดินทำให้มีการพัดพาดินที่ประกอบด้วยหางแร่  (หางแร่จากเหมืองยูเรเนียมมี สารกัมมันตรังสีหลงเหลืออยู่ถึง  85%)  กระจายไปในอากาศ  และลงสู่แหล่งน้ำ  ฝุ่นดินที่ฟุ้งขึ้นไปในอากาศจะเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจของคนงานในเหมือง  และชาวบ้านที่อยู่ใกล้เคียงกับเหมือง  จากรายงานของกระทรวงสาธารณสุข  ประเทศสหรัฐอเมริกา  พบว่า  จากจำนวนคนงานในเหมืองแร่ยูเรเนียม  6,000  คน  มีผู้ที่เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งปอดสูงถึง  600-1,100  คน

                       4.9.5  ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการใช้น้ำมัน 
(สำนักงานคณะกรรมการนโยบายแห่งชาติ,ม.ป.ป.)     ไอเสียจากการเผาไหม้น้ำมันชนิดต่างๆ ในรถยนต์หรือในเตาเผาประกอบไปด้วย
     1.  ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หากมีมากเกินไปทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจกทำให้
โลกร้อนขึ้น
     2.  ไนโตรเจนออกไซด์   ทำให้เกิดสภาพความเป็นกรดและเกิดหมอกควันในที่ที่ใช้
ยานพาหนะมาก
     3.  มลภาวะทางอากาศอื่นๆ  เช่น  คาร์บอนมอนออกไซด์ทำให้เกิดอาการเหนื่อยง่ายในคนปกติ  และเป็นอันตรายในคนที่เป็นโรคหัวใจ หรือเกิดมลพิษ  เช่น   สารเบนซินซึ่งเป็นสารที่ก่อให้เกิดมะเร็งได้สารหนึ่ง
    4.  หมอกควัน จะมีมากในเวลาแดดจัดและไม่มีลม หมอกควันมีผลกระทบต่อการหายใจและทำให้ระคายตารวมทั้งเป็นอันตรายต่อพืช
    5.  ซัลเฟอร์ไดออกไซด์  ทำให้เกิดฝนกรด  และเป็นอันตรายต่อการหายใจ
    6.  ผลกระทบต่อทรัพยากรอื่นๆ  กระบวนการผลิตปิโตรเลียมทั้งหมดทำให้เกิดน้ำเสีย 
หรือการปล่อยสารไฮโดรคาร์บอนออกสู่บรรยากาศ

                       4.9.6  ผลกระทบที่เกิดจากกระบวนการผลิตและการใช้ก๊าซธรรมชาติ
                                  ผลกระทบจากการขุดเจาะบริเวณแท่นขุดเจาะ  มีก๊าซที่ติดไฟได้ฟุ้งกระจายอยู่รอบๆแท่น ชาวประมงที่เดินเรือผ่านจะต้องระมัดระวังไม่เข้าไปใกล้บริเวณแท่นขุดเจาะในระยะรัศมี  500  เมตร
                               ผลกระทบจากการเผาไหม้  เมื่อเปรียบเทียบกับถ่านหินและน้ำมัน  การเผาไหม้
ก๊าซธรรมชาติจะก่อให้เกิดปัญหาน้อยกว่าถ่านหินและน้ำมันมาก  แต่ยังคงมีมลพิษปลดปล่อยออกมา
หลังการเผาไหม้บ้าง
                                 ผลกระทบจากการขนส่งก๊าซธรรมชาติจากแหล่งผลิตไปยังโรงงานแยกก๊าซ หรือโรงงานผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติ  อาศัยท่อเป็นหลัก  โดยมีการวางท่อก๊าซใต้ทะเลจากแหล่งผลิตที่อยู่ในทะเลมายังโรงแยกก๊าซและโรงไฟฟ้าที่ตั้งอยู่ใกล้ชายทะเล  หรือส่งต่อทางท่อไปยังโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ  เช่น  ส่งจากโรงงานแยกก๊าซที่จังหวัดระยองไปยังจังหวัดสระบุรี  เป็นต้น  สำหรับแนวก๊าซที่ทอดผ่านพื้นดินอาจมีส่วนที่ตัดผ่านเขตแนวป่าทำให้ต้องมีการโค่นล้มต้นไม้เป็นบางส่วน  ซึ่งจะต้องมีการควบคุมดูแลให้เหมาะสม

                       4.9.7  ผลกระทบจากการใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิง
                                   การเผาไหม้ของชีวมวลทำให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นก๊าซเรือนกระจกเช่นเดียวกันกับการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิล ในบางกรณีเชื้อเพลิงชีวมวลก่อให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเสียอีก (เปรียบเทียบฟืนกับก๊าซธรรมชาติ  เป็นต้น)  แต่ว่าชีวมวลนั้นมาจากพืชซึ่งระหว่างที่กำลังเติบโตก่อนนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงได้มีส่วนดูดซึมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากอากาศเข้าไปใช้ในการสังเคราะห์แสง  ดังนั้นคาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งปล่อยออกมาจากชีวมวลจึงเป็นการหมุนเวียนของคาร์บอนซึ่งถูกดูดซึมไปก่อนนี้

                       4.9.8  ผลกระทบจากการใช้พลังงาน
                                  โดยปกติ  แสงอาทิตย์ที่ตกกระทบโลก จะให้แสงสว่างและทำให้โลกอบอุ่น ความร้อนที่ตกกระทบบางส่วนจะสะท้อนออกไป  บางส่วนจะถูกดูดซับโดยอากาศและไอน้ำรอบๆ ผิวโลกทำให้เกิดภาวะที่เรียกว่า  ภาวะเรือนกระจก 
                                 การผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค
                                 กระบวนการผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม  นอกจากจะเกิดมลภาวะทางอ้อมจากการใช้พลังงานอื่นๆ  เช่น  พลังงานไฟฟ้าในการผลิตแล้ว  ในขบวนการผลิตโดยตรงและการบริโภคต่างๆ ยัง ส่งผลให้เกิดมลพิษและขยะอีกมากมาย
                                การเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิล  เริ่มมีมากขึ้นนับตั้งแต่การปฏิวัติอุสาหกรรมในยุโรปในช่วงร้อยกว่าปีมานี้  และส่งผลให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  ในบรรยากาศเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 25

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น